Defence Technology Institute Repository >
บทวิเคราะห์ >
เทคโนโลยีจรวดและอาวุธนำวิถี >
Please use this identifier to cite or link to this item:
http://hdl.handle.net/123456789/3802
|
Title: | เทคโนโลยีจรวดหลายลำกล้อง |
Authors: | ฝ่ายวิเคราะห์เทคโนโลยีป้องกันประเทศ, TTA |
Keywords: | บทวิเคราะห์เทคโนโลยีป้องกันประเทศ บทวิเคราะห์ 2559 2016 จรวดหลายลำกล้อง BMD-20 RM-51 Type 63 BM-21 Grad M-63 Plamen RM-70 BM-27 Uragan Type 75 M-77 Oganj LARS-2 Valkiri ASTROS II M270 MLRS Type 83 VCLC Teruel-3 FIROS TOS-1 BM-30 Smerch Type 81 WS-1 Fajr-5 WS-1B T-122 Sakarya Pinaka MBRL Type 89 /PHZ89 Type 90 Lynx A100/ PHL-96 WS-22 WS-2 Type 03 / PHL03 AR2 M142 HIMARS Multiple Cradle Launcher SR-4 SR-5 9A52-4 Tornado K-MLRS Chunmoo AR-3 A200 / Polonez A300 AR1 AR1-A WM-80 |
Issue Date: | 9-Aug-2022 |
Abstract: | ประวัติศาสตร์ของจรวดหลายลำกล้องสามารถย้อนหลังไปได้ถึงปี ค.ศ. 1232 ในประเทศจีน และต่อมาในปี ค.ศ. 1814 เซอร์ วิลเลียม คอนกรีฟ นักประดิษฐ์ชาวอังกฤษ ได้ให้กำเนิดทฤษฎีทางยุทธศาสตร์ของจรวดหลายลำกล้อง โดยกล่าวถึงการสร้างข้อได้เปรียบทางยุทธศาสตร์ที่จะเกิดขึ้น จากการนำอาวุธที่มีอานุภาพในการยิงโจมตีครั้งละหลาย ๆ นัดในเวลาเดียวกัน และใช้เวลาในการยิงที่น้อยที่สุด เซอร์ วิลเลียมได้ให้แนวความคิดด้านลักษณะทางกายภาพของเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องในยุคนั้นว่า “เครื่องยิงจรวดควรจะสามารถนำเข้าประจำการอย่างสะดวกและรวดเร็ว และที่สำคัญที่สุด ความสามารถในการยิงจรวดได้ครั้งละหลาย ๆ นัด และมีอานุภาพในการทำลายที่ครอบคลุมพื้นที่รัศมีวงกว้าง เพื่อที่จะไม่เปิดโอกาสให้ข้าศึกได้ทันตั้งตัว” |
URI: | http://hdl.handle.net/123456789/3802 |
Appears in Collections: | เทคโนโลยีจรวดและอาวุธนำวิถี
|
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.
|