Defence Technology Institute Repository >
บทวิเคราะห์ >
เทคโนโลยีจรวดและอาวุธนำวิถี >
Please use this identifier to cite or link to this item:
http://hdl.handle.net/123456789/3809
|
Title: | แนวโน้มเทคโนโลยีจรวดและอาวุธปล่อยนำวิถี ปี ค.ศ. 2020-2030 |
Authors: | ฝ่ายวิเคราะห์เทคโนโลยีป้องกันประเทศ, TTA |
Keywords: | บทวิเคราะห์เทคโนโลยีป้องกันประเทศ บทวิเคราะห์ 2564 2021 จรวด อาวุธปล่อยนำวิถี Ratheon BM21 Hydra70 Javelin SS-25 Sickle RPG-7 122 mm Grad Lizard Elbit 122mm Kit LR-PGK BAE Igla Harpoon ATACMS (US) Hwasong-16 Tomahawk (US) Brahmos Zircon Avanguard GMLRS-ER LORA A-Series GMLRS Tornado-S/G Pinaka Guided Rocket R-Han 122/450 Chun-Mu Guided Rocket RQ-170 |
Issue Date: | 9-Aug-2022 |
Abstract: | เทคโนโลยีจรวดถือกำเนิดมาเป็นเวลายาวนานตั้งแต่สมัยศตวรรษที่ 13 พร้อมกับการพัฒนาดินปืนโดยชาวจีนโบราณและได้พัฒนาอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ซึ่งจรวดและอาวุธนำวิถี (Rocket and Missile) ยังคงถือเป็นหนึ่งในอาวุธหลักของกองทัพทั่วโลก แม้จะมีการพัฒนาอาวุธทางเลือกก้าวหน้าอื่น ๆ ควบคู่ไปด้วย อาทิ อาวุธพลังงาน (Direct Energy) หรือกระสุนอัจฉริยะ (Smart Ammunition) แต่ด้วยจรวดและอาวุธนำวิถีนั้นยังจัดเป็นยุทโธปกรณ์ที่มีการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย ทั้งด้านขนาด ความแม่นยำ อำนาจการทำลาย และระยะยิง ทำให้ถือเป็นยุทโธปกรณ์ที่สามารถเลือกใช้ในการโจมตีต่อเป้าหมายได้มีประสิทธิภาพสูง โดยเฉพาะการทำสงครามยุคสมัยใหม่ที่ต้องการระบบอาวุธที่มีคุณลักษณะ “ฉลาด” (Smart Weapon) มากขึ้น เพื่อให้การโจมตีมีความแม่นยำ ลดความเสี่ยงในการถูกตอบโต้ และลดความเสียหายต่อพื้นที่ข้างเคียงโดยรอบ ทำให้เทคโนโลยีในส่วนระบบนำวิถี (Guidance System) มีความสำคัญมากขึ้น |
URI: | http://hdl.handle.net/123456789/3809 |
Appears in Collections: | เทคโนโลยีจรวดและอาวุธนำวิถี
|
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.
|