Defence Technology Institute Repository >
โครงการพัฒนาบุคลากร (K41-TAC) >
ทุนพัฒนาบุคลากรปี 2564 >
Please use this identifier to cite or link to this item:
http://hdl.handle.net/123456789/4678
|
Title: | โครงการวิจัยเรื่อง แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของเกม การจำลองยุทธ์ทางทหาร |
Authors: | เทียนสิริ, เหลืองวิไล |
Keywords: | ทุนวิจัย 2564 ทุน สทป. แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ การจำลองยุทธ์ทางทหาร การจำลองยุทธ์ เทียนสิริ เหลืองวิไล K41-00073 |
Issue Date: | 19-Oct-2023 |
Publisher: | สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ |
Abstract: | จุดประสงค์หลักของงานวิจัยชิ้นนี้คือ การพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่มีขีดความสามารถในการอธิบายพฤติกรรมของสมรภูมิการรบทางอากาศและความแข็งแกร่งของแต่ละฝ่ายที่ลดลงตามการเวลาของสมรภูมิ โดยแบบจำลองนี้ถูกพัฒนาต่อยอดมาจากพื้นฐานของแบบจำลองแลนเชสเตอร์ที่ใช้ในการจำลองการลดถอยลงของกำลังรบในสมรภูมิ โดยแบบจำลองที่พัฒนาขึ้นมาในงานวิจัยนี้จะมีตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยของการโจมตีและป้องกันทางอากาศ การตรวจจับและการรับรู้สถานการณ์ การป้องกันตัวเองของอากาศยาน ความสามารถในการเอาตัวรอดของอากาศยาน และความเสื่อมถอยของอากาศยานระหว่างทำการรบ โดยแบบจำลองนี้จะทำให้เห็นพฤติกรรมขั้นพื้นฐานและทำให้มีความเข้าใจมากยิ่งขึ้นในสมรภูมิการรบทางอากาศ ซึ่งถือว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญสำหรับการวางแผนยุทธศาสตร์ของการรบทางอากาศ การวางแผนการทำภารกิจทางอากาศ และเพื่อใช้ในการเรียนการสอน การวิเคราะห์สมรภูมิทางอากาศ นอกจากนี้แล้วแบบจำลอง
ทางคณิตศาสตร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาในงานวิจัยนี้ ยังจะสามารถพัฒนาต่อยอดเพื่อใช้ทำนายสถานการณ์ของสมรภูมิการรบทางอากาศในอนาคตได้เมื่อมีข้อมูลที่เพียงพอ The objective of this research is to develop a mathematical model which is able to capture the bahaviour of a modern aerial warfare. The mathematical model is developed from Lanchester model of forces attrition. The model consists of factors which account for air-attack, sensor and situation awareness, aircraft defence, aircraft survivability and aircraft deterioration. As a result, a clearer understanding of generic behaviour of aerial warfare can be captured and studied. This step also provides a crucial element for air warfare strategy, air mission planning and analysis of war game simulation. Therefore, Moreover, the model is able to extend further to forecast real air combat in the future when there is sufficient information for coefficient estimation. |
Description: | ทุนอุดหนุนโครงการวิจัย |
URI: | http://hdl.handle.net/123456789/4678 |
Appears in Collections: | ทุนพัฒนาบุคลากรปี 2564
|
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.
|