dc.contributor.author |
ฝ่ายวิเคราะห์เทคโนโลยีป้องกันประเทศ, TTA |
|
dc.date.accessioned |
2563-08-11T09:20:01Z |
|
dc.date.available |
2563-08-11T09:20:01Z |
|
dc.date.issued |
2563-08-11 |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/1522 |
|
dc.description |
น้้ามันเชื้อเพลิงฟอสซิลถูกใช้ในอากาศยานทั่วโลกประมาณ 200 ล้านตันต่อปี (250 ล้านลูกบาศก์เมตร) (Elhaj, 2014) อยู่ในรูปของน้้ามันเคโรซีน (Kerosene) ผลิตจากกระบวนการกลั่นน้้ามันดิบ ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 6 ของน้้ามันดิบที่ใช้กันทั่วโลก ข้อมูลปริมาณการใช้น้้ามันอากาศยานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลทั่วโลกในปี พ.ศ. 2555 แสดงในภาพที่ 1 โดยมีการคาดการณ์ว่าจะมีแนวโน้มการใช้น้้ามันอากาศยานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลเพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี ส่งผลให้อัตราการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจก หรือ Greenhouse Gas (GHG) เพิ่มสูงขึ้น ท้าให้เกิดภาวะโลกร้อน การเก็บภาษีคาร์บอน (Carbon Tax) เพื่อชดเชยการปล่อย GHG สู่สภาวะแวดล้อม และราคาน้้ามันที่เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน..... |
en_US |
dc.description.abstract |
เทคโนโลยีการผลิตน้้ามันเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพ (Biojet Fuels) |
en_US |
dc.subject |
น้ำมันเชื้อเพลิง |
en_US |
dc.subject |
อากาศยานชีวภาพ |
en_US |
dc.subject |
การกลั่นน้ำมันดิบ |
en_US |
dc.subject |
ภาวะโลกร้อน |
en_US |
dc.title |
เทคโนโลยีการผลิตน้้ามันเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพ (Biojet Fuels) |
en_US |
dc.type |
Article |
en_US |